Get Adobe Flash player
หน้าแรก | รายการหลักฐานประกอบการเมินตนเอง (SAR) ระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2563

รายการหลักฐานประกอบการเมินตนเอง (SAR) ระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2563

 ·         มาตรฐานที่ 1 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน 

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1

ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ตัวบ่งชี้ที่ 1.2

อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3

อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4

การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ตัวบ่งชี้ที่ 1.5

กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ตัวบ่งชี้ที่ 1.6

ร้อยละของนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ของผู้เรียนสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อสังคม

ตัวบ่งชี้ที่ 1.7

ร้อยละของผู้สอนที่สอบผ่านสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัยกำหนด

 

·       มาตรฐานที่ 2 ด้านการวิจัยและนวัตกรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1

ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4

จำนวนผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น

 

·       มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริการวิชาการ

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1

การบริการวิชาการแก่สังคม

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2

ร้อยละของรายได้จากการให้บริการวิชาการเพิ่มขึ้น

 

·       มาตรฐานที่ 4 ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1

 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2

จำนวนนวัตกรรมที่นำไปใช้พัฒนาวิสาหกิจวัฒนธรรม

 

 ·         มาตรฐานที่ 5 ด้านการบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1

การบริหารของสถาบันเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของสถาบัน

 

ข้อ 1

พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT กับวิสัยทัศน์ของสถาบัน และพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจำปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายของแผลกลยุทธ์

 

ข้อ 2

การกำกับติดตามส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคณะดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุกต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในการแข่งขัน

 

ข้อ 3

ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลมาจากการวิเคราะห์ระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดำเนินการตามพันธกิจของสถาบันและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม

 

ข้อ 4

บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ ที่อธิบายการดำเนินงานอย่างชัดเจน

 

ข้อ 5

การกำกับติดตามส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานในสถาบันมีการดำเนินการจัดการความรู้ตามระบบ

 

ข้อ 6

การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน

 

ข้อ 7

การกำกับติดตามส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานในสถาบันมีการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพภายในตามระบบปละกลไกที่สถาบันกำหนด ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพและการประเมินคุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2

ผลการบริหารงานของคณะ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3

ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตรและคณะ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4

ร้อยละตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติงานประจำปีบรรลุเป้าหมาย